ปวดหัวแบบไหน เสี่ยง “หลอดเลือดสมอง”

 

ปวดหัวแบบไหน เสี่ยง “หลอดเลือดสมอง”

ปวดหัวแบบไหน เสี่ยง “หลอดเลือดสมอง”

กำลังมองหาที่ ซื้อหวยออนไลน์ ใช่ไหมคะ? มาที่นี้เลย DINGDONG หวยออนไลน์ ผู้ให้บริการ ซื้อหวยออนไลน์ เปิดขายตลอด 24 ชั่วโมง ไม่มีเลขปิดรับ ไม่มีเลขอั้น 900/95 ทุกประเภท หวยออนไลน์ บนเว็บ

โรคหลอดเลือดสมอง หรือที่หลายคนรู้จักในชื่อ Stroke เป็นอาการผิดปกติทางหลอดเลือดสมองที่อาจเกิดอาการได้อย่างกะทันหัน จนอาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ภายในไม่กี่นาที ดังนั้นหากสังเกตอาการที่เป็นสัญญาณเตือนภัยตั้งแต่เนิ่น ๆ ก็จะช่วยให้เรารู้ตัวเร็วว่าเรามีความเสี่ยงต่อโรคนี้ และทำการรักษาก่อนเกิดอาการได้ทันท่วงที


ทำไมโรคหลอดเลือดสมองถึงอันตราย ?

อันตรายจากโรคหลอดเลือดสมอง ที่อาจทำให้เสียชีวิตได้ ไม่ได้มาจากอาการของโรคโดยตรง แต่เป็นอันตรายเมื่อเกิดอาการในช่วงเวลาที่คาดไม่ถึง เช่น ในระหว่างขับรถ เดินบนบันได อยู่ใกล้ที่สูง อาจทำให้พลาดเกิดอุบัติเหตุจนเสียชีวิตได้


“ปวดหัว” สัญญาณอันตราย “หลอดเลือดสมอง”

แม้ว่าจะเป็นโรคที่สามารถมีอาการเกิดขึ้นได้โดยไม่มีสัญญาณบอกล่วงหน้า แต่มีอาการเบื้องต้นที่เป็นสัญญาณอันตรายของโรคให้เราตระหนักถึงได้อยู่หลายอย่างด้วยกัน

อาการที่เกิดขึ้นเป็นอาการแรกๆ คือ อาการปวดหัว หากคุณมีอาการปวดศีรษะรุนแรงแบบฉับพลัน บวกกับอาการพูดไม่ชัด มีอาการมึนงง สับสน แขนขาชาหรืออ่อนแรงฉับพลัน หรือหมดความรู้สึกทำให้ทรงตัวลำบาก นี่อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง


ในกรณีที่เราพบผู้ป่วยที่ต้องสงสัยว่าอาจมีอาการของโรคหลอดเลือดสมองกะทันหัน สามารถทดสอบได้ง่ายๆ ด้วยวิธีเหล่านี้

  1. หากมีอาการหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว ให้สังเกตว่าใบหน้ามีการขยับได้เหมือนกันทั้งด้านซ้ายหรือขวา

  2. ให้ผู้ป่วยพูดออกเสียง หรือพูดตามคำที่ผู้ตรวจพูดแล้วสังเกตว่าผู้ป่วยสามารถออกเสียงได้ชัดเจนหรือไม่

  3. ให้ผู้ป่วยหลับตาแล้วยกแขนที่ศอกทั้งสองข้างเหยียดตึง ชูสูงขึ้น แล้วสังเกตว่ามีการอ่อนแรงของแขนข้างใดข้างหนึ่งหรือไม่ 


หากมีอาการใดอาการหนึ่งที่มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง ควรรีบพบไปพบแพทย์ทันทีโดยไม่ต้องรอให้เกิดอาการอื่น ๆ อีก เพราะหากเกิดอาการทรงตัวไม่ได้ หน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว ควบคุมร่างกายไม่ได้ จะมีเวลาเพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้นที่จะยื้อชีวิตผู้ป่วยได้


บล็อกอื่นๆ ที่น่าสนใจ


















ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

5 อาหารตัวช่วยในการ "ขับถ่าย" ตอนเช้า

5 อาหารที่คนญี่ปุ่นเชื่อว่า ช่วยให้ "ความจำ" ดีขึ้น

เช็กด่วน! เสริมหน้าอกด้วย "ซิลิโคน" เกิน 10 ปี เสี่ยงแตก-รั่วซึม